มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - ปุจฉา-วิสัชนา
ดังเช่นในสมัยพุทธกาล เหล่าทวยเทพในสวรรค์จะลงจากเทวโลก เพื่อมาฟังธรรมจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านถือว่าการมาฟังธรรมเป็นกรณียกิจที่สำคัญ เทวดาแต่ละองค์ที่ลงจากเทวโลกในยามราตรี ต่างไม่มาเปล่า ไม่ใช่เตรียมมาฟังธรรมอย่างเดียว ท่านจะเตรียมคำถามที่ดีๆไว้อย่างน้อย ท่านละ ๑คำถาม เพื่อนำมาทูลถามพระพุทธองค์
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - บัณฑิตที่แท้จริง
ธรรมดาบัณฑิต เห็นคนไขน้ำเข้านา เห็นช่างศรดัดลูกศร ให้ตรง เห็นช่างถากไม้แล้ว ย่อมถือเอาเหตุนั้นเป็นอารมณ์ มีปัญญารู้แจ้งแทงตลอดในอรหัตตผลได้ เหมือนเรื่องบัณฑิตสามเณร
มงคลที่ ๓๓ เห็นอริยสัจ - ต่างวิธีการ แต่เป้าหมายเดียวกัน
ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ได้กล่าวถึงวิธีการทำใจให้สงบไว้ ๔๐วิธี ซึ่งทั้งหมดนั้น เราสามารถเลือกปฏิบัติวิธีการใดวิธีการหนึ่ง สองหรือสามวิธีการพร้อมกันก็ได้ ตามแต่จริตอัธยาศัยของแต่ละคน แต่สุดท้ายก็มีเป้าหมายเดียวกัน คือ ต้องการความสงบของใจ เมื่อใจรวมหยุดนิ่ง ก็จะดิ่งเข้าสู่กลางภายในตรงศูนย์กลางกายฐานที่๗ และจะได้ตรัสรู้ธรรมไปตามลำดับ
พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2554” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 117
ทันใดนั้น พระเจ้าจุลนีจึงทรงประกาศขึ้นในท่ามกลางมหาสมาคมว่า“มา เถิดท่านทั้งหลาย บัดนี้ถึงเวลาแล้วที่เราจะต้องห้ำหั่นมิถิลาให้เป็นจุณ วิเทหราชหรือจะรอดพ้นเงื้อมมือของเราไปได้ เมื่อจับท้าววิเทหะผู้ทรนงตนเสียได้ เราก็จักบั่นศีรษะของมันเสียด้วยพระขรรค์เล่มนี้ล่ะ
เรือนร่างอันงดงาม
อะไรเล่าคือคุณของรูปทั้งหลาย หญิงสาวผู้ไม่สูง ไม่ต่ำไม่ผอม ไม่อ้วน ไม่ดำหรือไม่ขาวเกินไป ความสุขที่บังเกิดขึ้นเพราะอาศัยความงามเปล่งปลั่ง นี้เป็นคุณของรูปทั้งหลาย.
เรือนร่างอันงดงาม ๒
บุคคลพึงเห็นสาวคนนั้นเป็นซากศพ ฝูงกา ฝูงแร้ง ฝูงนกเค้า ฝูงสุนัขจิ้งจอก ฝูงปาณกชาติ รุมกัดกิน ความเปล่งปลั่งที่มีในก่อนนั้นหายไปแล้ว โทษปรากฏแล้วมิใช่หรือ
เรื่องของกาม
"กาม" คืออะไร ศิลปะ การคำนวณ การค้าขาย ฯลฯ เกิดเพราะเหตุแห่งกาม...
มหาสติปัฏฐานสูตร
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทางนี้เป็นทางสายเอก ที่เป็นไปเพื่อความหมดจดวิเศษของสัตว์ทั้งหลาย เพื่อก้าวล่วงเสียซึ่งความโศก และความร่ำไร เพื่อความดับไป แห่งทุกข์ และโทมนัส เพื่อบรรลุไญยธรรม เพื่อกระทำพระนิพพานให้แจ้ง ทางนี้คือสติปัฏฐาน ๔
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๘)
จากฉบับที่แล้ว ผู้เขียนได้พาท่านผู้อ่านย้อนรำลึกถึงประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาที่สำคัญที่สุดช่วงหนึ่งของประเทศไทย นั่นก็คือพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ในยุคต้นรัตนโกสินทร์ คือ รัชกาลที่ ๑ ที่...